แก้โค้ด WordPress

แก้โค้ด WordPress

วิธีการ แก้โค้ด WordPress ให้ถูกต้องตามหลักการ

ปกติแล้ว ผู้ใช้งาน WordPress สามารถทำการแก้ไข เว็บ WordPress ด้วยการปรับแต่งธีม WordPress ได้ด้วยตนเองด้วยวิธีการใช้ Theme Option หรือ Theme Customize ...

วิธีการ แก้โค้ด WordPress ให้ถูกต้องตามหลักการ อ่านต่อ

Team Viewer

การช่วยแก้ปัญหาแบบระยะไกลด้วย TeamViewer

สวัสดีครับ สำหรับบทความนี้จะเป็นบทความที่แนะนำเกี่ยวกับการใช้งาน TeamViewer เพื่อสนับสนุนการแก้ปัญหาระยะไกลว่ามีวิธีการและขั้นตอนอย่างไรนะครับ   ...

การช่วยแก้ปัญหาแบบระยะไกลด้วย TeamViewer อ่านต่อ

Remove custom post type slug
Remove custom post type slug

การนำ Custom Post Type Slug ออกจาก WordPress Permalink

โดยปกติแล้ว เมื่อเราทำการสร้างธีมของเราขึ้นมาและต้องการสร้าง Custom Post Type เพื่อใช้งานอย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นเช่น เราสร้าง Custom Post Type ชื่อ book ...

การนำ Custom Post Type Slug ออกจาก WordPress Permalink อ่านต่อ

มาทำความรู้จัก Robots.txt กันดีกว่า 1

มาทำความรู้จัก Robots.txt กันดีกว่า

วันนี้เรามารู้จักไฟล์ robots.txt กันหน่อยดีกว่านะครับ ไฟล์นี้จะทำหน้าที่ในการอนุญาต หรือไม่อนุญาตให้ บอทหรือโปรแกรมเก็บข้อมูลของ Search Engine เช่น Go ...

มาทำความรู้จัก Robots.txt กันดีกว่า อ่านต่อ

pass-wordpress-errors

วิธีการแก้ไขปัญหาเมื่อการแสดงผลในเวิร์ดเพรสไม่ถูกต้อง

ในบางครั้งการสร้างหรือแก้ไขธีมหรือปลั๊กอินในเวิร์ดเพรสเราอาจจะเจอปัญหาการแสดงผลไม่ถูกต้อง ดังนั้นเราจะต้องเรียนรู้วิธีการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ได้แก่ การตั้งค่า Debugging mode ในไฟล์ wp-config.php ให้เป็น True เป็นต้น

วิธีการแก้ไขปัญหาเมื่อการแสดงผลในเวิร์ดเพรสไม่ถูกต้อง อ่านต่อ

LiveReload on Sublime Text 3

การติดตั้ง LiveReload บน Sublime Text 3

LiveReload คือแพ็กเกจตัวหนึ่งบน Sublime Text 3 ที่จะช่วยให้เราทำงานในการเขียนเวบไซต์ได้ง่ายขึ้น โดยเมื่อเราเขียนโค๊ดสร้างเวบไซต์แล้วทำการบันทึก เบราเซอร์ของเราจะทำการเปลี่ยนแปลงค่าให้โดยอัตโนมัติในรูปแบบ Live แพ็กเกจนี้จะทำหน้าที่อัพเดททั้งในส่วนของ HTML และ CSS วิธีการใช้งานนั้นเราจะต้องทำการติดตั้งโปรแกรมดังกล่าวทั้งบน Sublime Text 3 และบนเบราเซอร์เพื่อเชื่อมต่อการทำงานถึงกัน

การติดตั้ง LiveReload บน Sublime Text 3 อ่านต่อ

child-theme-3

การใช้งานธีมลูก (Child Theme) ตอนที่ 3

กลับมาสู่เนื้อหาการใช้ธีมลูกกันต่อนะครับ หลังพักหยุดยาวไปสามวัน ฮ่าๆ เรามาเริ่มต้นกันข้อที่ 3 เลยครับ การนำเมนูออกจากธีมหลัก เราสามารถนำออก (Remove) ออกได้ ด้วยฟังก์ชั่นที่ชื่อว่า unregister_nav_menu() โดยให้ทำการใส่รหัสของเมนู (Menu ID) ที่ธีมเราสร้างขึ้นมาเป็นพารามิเตอร์ของฟังก์ชั่นนี้ ยกตัวอย่างเช่น ตามโค๊ดธีมหลักของเรามีเมนูที่ลงทะเบียนไว้ชื่อ Header Menu

การใช้งานธีมลูก (Child Theme) ตอนที่ 3 อ่านต่อ

แก้ไข theme wordpress

การใช้งานธีมลูก (Child Theme) ตอนที่ 2

การใช้งานธีมลูกนั้น เราสามารถแก้ไขไฟล์ได้ใน 3 ลักษณะด้วยกัน ได้แก่ การแก้ไขไฟล์ style.css การแก้ไขไฟล์หลัก เช่น header.php, footer.php ต่างๆ และการแก้ไขไฟล์ functions.php อันดับแรกการแก้ไขไฟล์ style.css จากบทความที่แล้ว เมื่อเราทำการแนะนำให้ธีมลูก (Child Theme) ของเราได้รู้จักกับไฟล์ style.css ของธีมหลัก (Parent Theme) แล้ว เราก็สามารถแก้ไขไฟล์ดังกล่าวในธีมลูกได้เป็นปกติ

การใช้งานธีมลูก (Child Theme) ตอนที่ 2 อ่านต่อ

child-theme-1

การใช้งานธีมลูก (Child Theme) ตอนที่ 1

ธีมลูก (Child Theme) คือ ธีมที่มีฟังก์ชั่นการใช้งานที่ได้มาจากธีมแม่ (Parent Theme) มีไว้เพื่อวัตถุประสงค์ในการปรับเปลี่ยนแก้ไขธีมที่ใช้อยู่ ถ้าเราปรับเปลี่ยนธีม (Parent Theme) แบบตรงๆ และเมื่อธีมนั้นได้รับการอัพเดท ค่าการปรับแต่งหรือฟังก์ชั่นต่างๆ ที่เราได้สร้างมาในธีมนี้จะหายและสูญเสียไป แต่หากเราใช้ธีมลูก (Child Theme) ในการปรับแต่งจะทำให้ค่าและฟังก์ชั่น ต่างๆ จะยังคงอยู่

การใช้งานธีมลูก (Child Theme) ตอนที่ 1 อ่านต่อ

thai language url

การตั้งชื่อภาษาไทยในเวิร์ดเพรสให้ URL ยาวขึ้น

การตั้งชื่อภาษาไทยในเวบไซต์ของเรานั้นจะมีผลดีหลายอย่าง คือ ผู้อ่านที่เป็นคนไทยสามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้นกว่าภาษาอังกฤษ บทความที่เราจะอ่านมีเรื่องเกี่ยวกับอะไร และมีผลต่อการจัดลำดับของกูเกิ้ล (Google) แต่ในเวิร์ดเพรส (Wordpress) มักจะมีปัญหาคือชื่อที่เราตั้งไว้อย่างสวยงามนั้น เมื่อแสดงผลจะโดนตัดคำออกไปทำให้เราอ่านหัวข้อที่เราตั้งไว้ไม่รู้เรื่อง

การตั้งชื่อภาษาไทยในเวิร์ดเพรสให้ URL ยาวขึ้น อ่านต่อ

Contact Us via Line QR code